วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2554

นิทานเด็กเลี้ยงแกะ

นับเลขกับพี่ใบกล้วย

ครั้งที่ 17 วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2554

ในวันนี้เป็นวันสอบสอน วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

หน่วยที่สอน เรื่อง นม
ขอบข่ายคณิตฯ คือ การนับจำนวน
การตั้งเกณฑ์ คือ แยกประเภทของนม "นมที่ทำมาจากถั่วเหลืองกับนมที่ไม่ได้ทำมาจากถั่วเหลือง"
คอมเม้นจากอาจารย์


  • สอนต้องสอนแค่เรื่องเดียวต่อ 1วัน

  • เทคนิคการสอนดี

  • เรื่องที่เด็กยังไม่รู้อย่ารีบสอน เช่น นมที่ทำมาจากควาย

บรรยากาศในการสอบ


ครั้งที่16 วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554

อาจารย์สอนเกี่ยวกับขอบข่ายของคณิตศาสตร์สำหรับคณิตสำหรับเด็กปฐมวัย
โดยมีการยกตัวอย่างบนกระดาน และการสนทนา อภิปราย ในชั้นเรียนโดยมีการยกมือแสดงความคิดเห็นด้วย
ทำให้ได้ฝึกการคิด วิเคราะห์และมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เกิดการเรียนรู้มากขึ้นด้วย
*อาจารย์นัดสอบ โดยให้นักศึกษาสอบสอน ในวันที่27กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 11.00 น.

  • สอนโดยมีขอบข่ายคณิตศาสตร์
  • มีสื่ออุปกรณ์
  • อื่นๆ

วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ครั้งที่15

เกมการศึกษาที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

1 ชื่อ เกมภาพซ้อน ขอบข่ายของคณิต ศาสตร์ คือ เรื่องของที่ตั้ง ตำแหน่ง เช่น ตรงกลาง,



2.ชื่อเกมจัคู่ภาพที่แทนด้วยสัญลักษณ์ ขอบข่ายของคณิตศาสตร์ คือ รูปร่างรูปทรงเรขาคณิต






3.ชื่อเกมจับคู่ลอยเท้าสัตว์ ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ การจับคู่ของขนาด






4.ชื่อเกมเรียงลำดับเหตุการณ์ภาพ ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ ตัวเลข,การนับเรียงลำดับภภาพ
5.ชื่อเกมจับคู่ภาพที่มีจำนวนเท่ากัน ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ การนับจำนวน
6.ชื่อเกมจับคู่ส่วนบนส่วนล่างของสัตว์ที่เหมือนกัน ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ ที่ตั้ง, ตำแหน่ง (บน, ล่าง)





7.ชื่อเกมทิศทางของภาพ ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ ที่ตั้งเกี่ยวกับทิศทาง








8.ชื่อเกมต่อภาพ ขอบข่ายคณิตศาสตร์คือ การนับจำนวนชิ้นของภาพต่อ






9.ชื่อเกมบวกจำนวนของปลา ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ การนับจำนวนที่เพิ่มขึ้น


10.ชื่อเกมต่อภาพ ขอบข่ายคณิตศาสตร์คือ การนับจำนวนชิ้นของภาพต่อ

ครั้งที่14 วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2544

ความสำคัญทางคณิตศาสตร์ เป็นหลักการที่ต้องการปลูกฝังให้แก่เด็กผู้สอนควรศึกษาสาระสำคัญทางคณิตศาสตร์ของแต่ละสาระ ในกรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และเพื่อให้เข้าใจตรงกัน
สาระที่1 จำนวนและการดำเนินการ
  • จำนวนนับใช้บอกจำนวนของสิ่งต่างๆ
  • จำนวนที่นับ 1 2 3 4 5 เป็นจำนวนที่นับเพิ่มขึ้นทีละหนึ่งตามลำดับ
  • ศูนย์ไม่ใช่จำนวนนับ
  • ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแสดงจำนวน
  • สัญลักษณ์พื้นฐานที่ใช้เขียนแสดงจำนวน เรียกว่า เลขโดดในระบบฐานสิบมี 10 ดังนี้

ตัวเลขอินดูอารบิก ได้แก่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ตัวเลขไทย ได้แก่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

สาระที่ 2 การวัด

สาระที่3 เรขาคณิต

สาระที่4 พีชคณิต ความสัมพันธ์ที่แสดงลักาณะสำคัญร่วมของชุด ของจำนวนรูปเรขาคณิต หรือสิ่งต่างๆ

สาระที่5 การวิเคราะห์ข้อมูล และความน่าจะเป็น ใช้วิธีการสังเกตหรือสอบถามก็ได้

ครั้งที่ 13 วันที่ 27 มกราคม 2544

แบ่งกลุ่ม แล้วทำ Mind map ที่เกี่ยวกับขอบข่ายคณิตศาสตร์
แล้วทำแผนการจัดประสบการณ์ 4 วันให้สอดคล้องกับขอบข่ายคณิตศาสตร์