วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2554
ครั้งที่ 17 วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2554
ในวันนี้เป็นวันสอบสอน วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
หน่วยที่สอน เรื่อง นม
ขอบข่ายคณิตฯ คือ การนับจำนวน
การตั้งเกณฑ์ คือ แยกประเภทของนม "นมที่ทำมาจากถั่วเหลืองกับนมที่ไม่ได้ทำมาจากถั่วเหลือง"
คอมเม้นจากอาจารย์
หน่วยที่สอน เรื่อง นม
ขอบข่ายคณิตฯ คือ การนับจำนวน
การตั้งเกณฑ์ คือ แยกประเภทของนม "นมที่ทำมาจากถั่วเหลืองกับนมที่ไม่ได้ทำมาจากถั่วเหลือง"
คอมเม้นจากอาจารย์
- สอนต้องสอนแค่เรื่องเดียวต่อ 1วัน
- เทคนิคการสอนดี
- เรื่องที่เด็กยังไม่รู้อย่ารีบสอน เช่น นมที่ทำมาจากควาย
บรรยากาศในการสอบ
ครั้งที่16 วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554
อาจารย์สอนเกี่ยวกับขอบข่ายของคณิตศาสตร์สำหรับคณิตสำหรับเด็กปฐมวัย
โดยมีการยกตัวอย่างบนกระดาน และการสนทนา อภิปราย ในชั้นเรียนโดยมีการยกมือแสดงความคิดเห็นด้วย
ทำให้ได้ฝึกการคิด วิเคราะห์และมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เกิดการเรียนรู้มากขึ้นด้วย
*อาจารย์นัดสอบ โดยให้นักศึกษาสอบสอน ในวันที่27กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 11.00 น.
โดยมีการยกตัวอย่างบนกระดาน และการสนทนา อภิปราย ในชั้นเรียนโดยมีการยกมือแสดงความคิดเห็นด้วย
ทำให้ได้ฝึกการคิด วิเคราะห์และมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เกิดการเรียนรู้มากขึ้นด้วย
*อาจารย์นัดสอบ โดยให้นักศึกษาสอบสอน ในวันที่27กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 11.00 น.
- สอนโดยมีขอบข่ายคณิตศาสตร์
- มีสื่ออุปกรณ์
- อื่นๆ
วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
ครั้งที่15
เกมการศึกษาที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1 ชื่อ เกมภาพซ้อน ขอบข่ายของคณิต ศาสตร์ คือ เรื่องของที่ตั้ง ตำแหน่ง เช่น ตรงกลาง,
2.ชื่อเกมจัคู่ภาพที่แทนด้วยสัญลักษณ์ ขอบข่ายของคณิตศาสตร์ คือ รูปร่างรูปทรงเรขาคณิต
3.ชื่อเกมจับคู่ลอยเท้าสัตว์ ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ การจับคู่ของขนาด
4.ชื่อเกมเรียงลำดับเหตุการณ์ภาพ ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ ตัวเลข,การนับเรียงลำดับภภาพ
5.ชื่อเกมจับคู่ภาพที่มีจำนวนเท่ากัน ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ การนับจำนวน
6.ชื่อเกมจับคู่ส่วนบนส่วนล่างของสัตว์ที่เหมือนกัน ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ ที่ตั้ง, ตำแหน่ง (บน, ล่าง)
7.ชื่อเกมทิศทางของภาพ ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ ที่ตั้งเกี่ยวกับทิศทาง
8.ชื่อเกมต่อภาพ ขอบข่ายคณิตศาสตร์คือ การนับจำนวนชิ้นของภาพต่อ
9.ชื่อเกมบวกจำนวนของปลา ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ การนับจำนวนที่เพิ่มขึ้น
1 ชื่อ เกมภาพซ้อน ขอบข่ายของคณิต ศาสตร์ คือ เรื่องของที่ตั้ง ตำแหน่ง เช่น ตรงกลาง,
2.ชื่อเกมจัคู่ภาพที่แทนด้วยสัญลักษณ์ ขอบข่ายของคณิตศาสตร์ คือ รูปร่างรูปทรงเรขาคณิต
3.ชื่อเกมจับคู่ลอยเท้าสัตว์ ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ การจับคู่ของขนาด
4.ชื่อเกมเรียงลำดับเหตุการณ์ภาพ ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ ตัวเลข,การนับเรียงลำดับภภาพ
5.ชื่อเกมจับคู่ภาพที่มีจำนวนเท่ากัน ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ การนับจำนวน
6.ชื่อเกมจับคู่ส่วนบนส่วนล่างของสัตว์ที่เหมือนกัน ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ ที่ตั้ง, ตำแหน่ง (บน, ล่าง)
7.ชื่อเกมทิศทางของภาพ ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ ที่ตั้งเกี่ยวกับทิศทาง
8.ชื่อเกมต่อภาพ ขอบข่ายคณิตศาสตร์คือ การนับจำนวนชิ้นของภาพต่อ
9.ชื่อเกมบวกจำนวนของปลา ขอบข่ายคณิตศาสตร์ คือ การนับจำนวนที่เพิ่มขึ้น
10.ชื่อเกมต่อภาพ ขอบข่ายคณิตศาสตร์คือ การนับจำนวนชิ้นของภาพต่อ
ครั้งที่14 วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2544
ความสำคัญทางคณิตศาสตร์ เป็นหลักการที่ต้องการปลูกฝังให้แก่เด็กผู้สอนควรศึกษาสาระสำคัญทางคณิตศาสตร์ของแต่ละสาระ ในกรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และเพื่อให้เข้าใจตรงกัน
สาระที่1 จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่1 จำนวนและการดำเนินการ
- จำนวนนับใช้บอกจำนวนของสิ่งต่างๆ
- จำนวนที่นับ 1 2 3 4 5 เป็นจำนวนที่นับเพิ่มขึ้นทีละหนึ่งตามลำดับ
- ศูนย์ไม่ใช่จำนวนนับ
- ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแสดงจำนวน
- สัญลักษณ์พื้นฐานที่ใช้เขียนแสดงจำนวน เรียกว่า เลขโดดในระบบฐานสิบมี 10 ดังนี้
ตัวเลขอินดูอารบิก ได้แก่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ตัวเลขไทย ได้แก่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่3 เรขาคณิต
สาระที่4 พีชคณิต ความสัมพันธ์ที่แสดงลักาณะสำคัญร่วมของชุด ของจำนวนรูปเรขาคณิต หรือสิ่งต่างๆ
สาระที่5 การวิเคราะห์ข้อมูล และความน่าจะเป็น ใช้วิธีการสังเกตหรือสอบถามก็ได้
ครั้งที่ 13 วันที่ 27 มกราคม 2544
แบ่งกลุ่ม แล้วทำ Mind map ที่เกี่ยวกับขอบข่ายคณิตศาสตร์
แล้วทำแผนการจัดประสบการณ์ 4 วันให้สอดคล้องกับขอบข่ายคณิตศาสตร์
แล้วทำแผนการจัดประสบการณ์ 4 วันให้สอดคล้องกับขอบข่ายคณิตศาสตร์
ครั้งที่12 วันที่20 มกราคม 2544
คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์
ได้แก่ ตัวเลข =เกี่ยวกับการนับ หรือจำนวน
ขนาด = กว้าง ยาว สั้น สูง
ที่ตั้ง = ซ้าย ขวา บน ล่าง เรื่องของตำแหน่ง
ค่าของเงิน = บาท
ความเร็ว = ระยะทางกับเวลา
อุณหภูมิ = ร้อน เย็น หนาว
ลักษณะหลักสูตรที่ดี
1.เน้นกระบวนการคิด และการพัฒนาความคิดรวบยอด
2.เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
3.สร้างเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
4.ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
5.เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดมีทักษะคณิตศาสตร์
หลักการสอนคณิตศาสตร์
1.สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2.เปิโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3.มีเป้าหมายและการวางแผนที่ดี
4.เอาใส่ใจในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นของการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก
ได้แก่ ตัวเลข =เกี่ยวกับการนับ หรือจำนวน
ขนาด = กว้าง ยาว สั้น สูง
ที่ตั้ง = ซ้าย ขวา บน ล่าง เรื่องของตำแหน่ง
ค่าของเงิน = บาท
ความเร็ว = ระยะทางกับเวลา
อุณหภูมิ = ร้อน เย็น หนาว
ลักษณะหลักสูตรที่ดี
1.เน้นกระบวนการคิด และการพัฒนาความคิดรวบยอด
2.เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
3.สร้างเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
4.ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
5.เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดมีทักษะคณิตศาสตร์
หลักการสอนคณิตศาสตร์
1.สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2.เปิโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3.มีเป้าหมายและการวางแผนที่ดี
4.เอาใส่ใจในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นของการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก
ครั้งที่11 วันที่ 15 มกราคม2544
อาจารย์นำตัวอย่างบทเพลง คำคล้องจองต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์มาให้ศึกษาร่วมกัน โดยมีการสนทนา แสดงความคิดเห็นเพื่อเชื่อมโยงหลักการสอนคณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัย
ครั้งที่ 10 วันที่ 6 มกราคม 2554
สรุปองค์ความรู้จาการออกสังเกตการณ์ มีตรงไหนบ้างที่มีการเชื่อมกับคณิตศาสตร์
สังเกตการณ์ที่โรงเรียนเกษมพิทยา แผนกอนุบาล ได้สังเกตอนุบาล2/2 ในการเรียนการสอนที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ก็คือ
1. การติดวันที่ โดยจะมีป้ายวันที่ให้เด็กติดเองบนกระดาน มีการให้เด็กทั้งห้องช่วยกันนับถ้วนวันที่จนถึงวันที่ปัจจุบัน
2.การวัดอุณหภูมิของห้องเรียน ในห้องเรียนจะมีเครื่องวัด ครูและเด็กช่วยกันดู แล้วจะให้เด็กได้มาเขียนตัวเลขลงบนกระดาษตรงเครื่องวัด แล้วอ่านพร้อมกัน
3. การเรียนโยคะ ในเรืองของตำแหน่งการยืน การทรงตัวของแต่ละคน
สังเกตการณ์ที่โรงเรียนเกษมพิทยา แผนกอนุบาล ได้สังเกตอนุบาล2/2 ในการเรียนการสอนที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ก็คือ
1. การติดวันที่ โดยจะมีป้ายวันที่ให้เด็กติดเองบนกระดาน มีการให้เด็กทั้งห้องช่วยกันนับถ้วนวันที่จนถึงวันที่ปัจจุบัน
2.การวัดอุณหภูมิของห้องเรียน ในห้องเรียนจะมีเครื่องวัด ครูและเด็กช่วยกันดู แล้วจะให้เด็กได้มาเขียนตัวเลขลงบนกระดาษตรงเครื่องวัด แล้วอ่านพร้อมกัน
3. การเรียนโยคะ ในเรืองของตำแหน่งการยืน การทรงตัวของแต่ละคน
ครั้งที่ 6-7 วันที่ 29 พ.ย.- 14 ม.ค.2554
เป็นช่วงสังเกตการณ์
นักศึกษาชั้นปีที่3 ออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาปฎิบัติการวิชาชีพ1. (Practicum 1) ในรายวิชานี้เป็นรายวิชาที่ต้องการให้นักศึกษาฝึกการสังเกตการณ์ในชั้นเรียน สังเกตพฤติกรรมการเล่น การเรียน การเข้าร่วมกิจกรรม ฝึกให้นักศึกษาสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ ได้เจอกับประสบการณ์จริงๆ ในการไปในครั้งนี้ ถือว่าได้ประโยชน์มาก ได้สัมผัสกับเด็กแต่ละประเภทจริงๆ เมื่อได้เข้าไปสัมผัสแล้วสามรถนำกลับมาใช้ในการเรียนแต่ละวิชาได้ เป็นประสบการณ์ที่หาซื้อไม่ได้ ในการไปศึกษาครั้งนี้ 2อาทิตย์ ตัวนักศึกษาเองคิดว่าเป็นประโยชน์มากในการเรียนและในวิชาชีพของตัวเอง
นักศึกษาชั้นปีที่3 ออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาปฎิบัติการวิชาชีพ1. (Practicum 1) ในรายวิชานี้เป็นรายวิชาที่ต้องการให้นักศึกษาฝึกการสังเกตการณ์ในชั้นเรียน สังเกตพฤติกรรมการเล่น การเรียน การเข้าร่วมกิจกรรม ฝึกให้นักศึกษาสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ ได้เจอกับประสบการณ์จริงๆ ในการไปในครั้งนี้ ถือว่าได้ประโยชน์มาก ได้สัมผัสกับเด็กแต่ละประเภทจริงๆ เมื่อได้เข้าไปสัมผัสแล้วสามรถนำกลับมาใช้ในการเรียนแต่ละวิชาได้ เป็นประสบการณ์ที่หาซื้อไม่ได้ ในการไปศึกษาครั้งนี้ 2อาทิตย์ ตัวนักศึกษาเองคิดว่าเป็นประโยชน์มากในการเรียนและในวิชาชีพของตัวเอง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)